เพลินตาปราสาทหิน เยือนถิ่น โบราณสถาน เก่ากาลประวัติศาสตร์ ผุดผาดสาวเรณู สวยหรูไหมแพรวา งามตาน้ำตกใส ป่าใหญ่สวย รวยไม้ดอก ทะเลหมอกภูเขา หนาวสุด แห่งสยาม

สุขศึกษาและพลศึกษา

[การละเล่น] [โรคประจำถิ่น]


ขาโถกเถก


อุปกรณ์


ขาโถกเถก  ทำด้วยไม้ไผ่ยาวประมาณ 2-3 เมตร จำนวน2 ท่อน ขากนั้นเจาะรูเพื่อทำขาสำหรับวางเท้า เมื่อขึ้นยืนแล้วเดินไปโดยไห้มีความสูงตามต้องงการที่เหมาะกับความสามารถในการทรงตัวของผู้เล่น การเจาะรูนั้น
ต้องตรงกันกับไม้ทั้ง 2 และทำไห้แข็งแรงมั่นคง

วิธีการเล่น

  1.  การเริ่มต้น ผู้เล่นจะขึ้นไปยืนบนขาโถกเถก
  2.  เดินแข่งกัน โดยไม่ให้ตกลงมาหรือเสียการทรงตัว
  3.  การสิ้นสุดการเล่น ใครที่เดินานมีระยะทางไกลกว่าหรือถึงเส้นชัยก่อนโดยที่ไม่ตกเลยจะเป็นผู้ชน
    ประโยชน์
    ทำให้ผู้เล่นได้เพลิดเพลิน สนุกสนานในการเล่น และได้ทักษะการทรฝตัว

 

กลับด้านบน

โรคประจำถิ่น
 
โรคฉี่หนู

สาเหตุ

  • ระยะเชื้อเข้ากระแสเลือด Leptospiremic เมื่อเชื้อเข้าร่างกายจะเข้าสู่กระแสเลือด ผู้ป่วยจะมีอาการดังนี้คือ
  • ผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะทันที มักจะปวด บริเวณหน้าผาก หรือหลังตา บางรายปวดบริเวณขมับทั้งสองข้าง
  • ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงมากโดยเฉพาะบริเวณน่อง โคนขา กล้ามเนื้อหลังและมีอาการกดเจ็บกล้ามเนื้อ
  • ไข้สูง 28-40 องศา เยื่อบุตาแดง
  • ระยะร่างกายสร้างภูมิ  (immune phase) ในรายที่อาการไม่รุนแรง หลังจากมีไข้แล้ว 7 วันจะมีระยะที่ไม่มีไข้ 1-2 วันหลังจากนั้นจะเกิดไข้ขึ้นอีกครั้ง ไข้ระยะนี้จะขึ้นวันละ 2 ครั้ง จะมีอาการปวดศีรษะ สับสน หรือซึม เบื่ออาหาร เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เยื่อบุตาอักเสบ มีผื่น ตรวจเลือดพบการทำงานของตับ และการทำงานของไตผิดปกติ ตรวจพบเชื้อในเลือดและน้ำไขสันหลังในระยะ1-2 วันของระยะโรคนี้ ระยะนี้ถ้าเจาะเลือดจะพบภูมิต่อเชื้อเพิ่ม ระยะนี้กินเวลา  

อาการ

ภาวะเยื่อบุตาบวมแดงเกิดขึ้นในตาทั้งสองข้างภายใน 3 วันแรกของโรค และอยู่ได้นานตั้งแต่ 1-7 วัน อาจจะพบร่วมกับเลือดออกที่ตาขาวข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้

  • กดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง โดยเฉพาะที่น่อง
  • มีเลือดออกแบบต่างๆ โดยเฉพาะในรายที่มีอาการรุนแรง เช่นจุดเลือดออกตามผิวหนัง petichae ผื่นเลือดออก purpuric spot
    เลือดออกใต้เยื่อบุตา conjunctival haemorrhage หรือเสมหะเป็นเลือด
  • ผื่น อาจจะพบได้หลายแบบ ผื่นแดงราบ ผื่นแดง ผื่นลมพิษ
  • อาการเหลือง อาการเหลืองมักเกิดวันที่4-6 ของโรค

การรักษา

                                     สามารถรักษาได้ด้วยยาปฏิชีวนะ ควรให้ยาเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้หรือไม่ควรเกิน4วัน หลังจากมีอาการเป็นอย่างช้า
                      ระยะเวลาที่ให้นานอย่างน้อย 7 วัน โดยชนิดของยาปฏิชีวนะจะแตกต่างกันไปตามความรุนแรงของอาการ

ที่มา : http://www.prapayneethai.com/

กลับด้านบน

 

โครงงานบูรณาการ O-Net 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี